จดทะเบียนสมรสกับชาวต่างชาติ

จดทะเบียนสมรสกับชาวต่างชาติ

Knight Visa Help Point รับทำวีซ่าและรับปรึกษา บริการ การจดทะเบียนสมรส กับชาวต่างชาติในไทย พร้อมดูแลให้กับคุณทุกขั้นตอนการดำเนินการ แก้ไขปัญหาก่อนการจดทะเบียนสมรส เรามีประสบการณ์ การบริการด้านจดทะเบียนสมรสในไทย ให้กับชาวต่างชาติ ที่จะจดทะเบียนสมรสในไทย

การจัดเตรียมเอกสารฝ่ายไทย เพื่อไปขอ ใบรับรองโสดที่ประเทศคู่สมรส

การที่จะจดทะเบียนสมรสกับกับชาวต่างชาตินั้น กฎหมายบางประเทศเราอาจจะต้องส่งเอกสารทางราชการ ไปยังคู่สมรสเพื่อนำไปขอ “หนังสือรับรองความเป็นโสด” หรือ “หนังสืออนุญาตสมรส” ยังเขตที่คู่สมรสพำนัก จึงจะมาจดทะเบียนสมรสในไทยได้

การแปลเอกสาร รับรองเอกสารที่สถานทูต และกงสุลไทย

เอกสารทางราชการไทยที่ใช้ในการจดทะเบียนสมรสนั้น จะต้องได้รับการรับรองเอกสารจากกงสุลไทยและ บางประเทศต้องนำไปแปลและรับรองเอกสารที่สถานทูตคู่สมรสก่อนทำเรื่องขอการจดทะเบียนสมรสได้

การขอใบรับรองโสด 

– การขอใบรับรองโสดที่สถานทูต ต้องเตรียมข้อมูลเพื่อขอ “ใบรับรองโสด” ที่สถานทูตคู่สมรส

– การจดทะเบียนที่สำนักงานเขต (อำเภอ) พร้อนพยาน

เราพร้อมอำนวยความสะดวก บริการ การจดทะเบียนสมรส ในทุกเขตพื้นที่ ที่ท่านต้องการ พร้อมกับพยานให้บริการ รับปรึกษาทางด้านกฎหมาย

 

ทำสัญญาก่อนสมรส Prenuptial Agreement

ก่อนที่ชายหญิงจะจดทะเบียนสมรสกัน กฎหมายให้สิทธิคู่สมรสที่จะทำสัญญาก่อนสมรส กำหนดเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา ในเรื่องทรัพย์สินได้ ซึ่งหากไม่มีสัญญาก่อนสมรสได้ ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยาในเรื่องทรัพย์สิน ต้องเป็นไปตามกฎหมาย ที่กล่าวมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา ในเรื่องการจัดการทรัพย์สินที่เป็นสินสมรส ดังนั้นคู่สมรสใดที่ต้องการที่จะจัดการเกี่ยวกับการขาย

อสังหาริมทรัพย์ตามลำพัง โดยไม่ต้องจัดการร่วมกัน หรือต้องขอความยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่ง จึงอาจทำได้โดยการทำสัญญาก่อนสมรส โดยทั่วไปสัญญาก่อนสมรส เมื่อได้ทำขึ้นตามแบบที่กฎหมายกำหนดคือ บันทึกไว้ในทะเบียนสมรส ในขณะที่มีการจดทะเบียนสมรสแล้ว

จะทำให้ผูกพันคู่สมรสตลอดไป การจะเปลี่ยนแปลงเพิกถอนสัญญาก่อนสมรสที่ทำไว้จะทำไม่ได้ นอกจากจะได้รับอนุญาตจากศาล และแม้ จะมีข้อความในสัญญาก่อนสมรสไว้ให้สามีภรรยามีสิทธิที่จะตกลงเปลี่ยนแปลงเพิกถอนสัญญาก่อนสมรสได้ ข้อตกลงเช่นนี้บังคับไม่ได้

 

การทำเรื่องหย่า Contested / Uncontested Divorce

การหย่าตามกฎหมายนั้น  ย่อมกระทำได้ 2 วิธีคือ

– การหย่าโดยความยินยอมของคู่สมรสทั้งสองฝ่าย

– การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล

หมายเหตุ  หากท่านยังไม่ได้จดทะเบียนหย่ากับสามี ท่านไม่สามารถที่จะจดทะเบียนสมรสกับสามีคนใหม่ได้ เนื่องจากจะเป็นการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่แล้ว  ย่อมเป็นโมฆะเพราะสมรสซ้อน

ธง V.1_210211_0

การจดทะเบียนสมรสกับชาวอเมริกา

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวอเมริกา หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวอเมริกาและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวอเมริกาเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวอเมริกาเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตอเมริกาไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวอเมริกาและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_1

การจดทะเบียนสมรสกับชาวแคนาดา

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวแคนาดา หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวแคนาดาและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวแคนาดาเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวแคนาดาเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตแคนาดาไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวแคนาดาและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_2

การจดทะเบียนสมรสกับชาวออสเตรเลีย

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวออสเตรเลีย หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวออสเตรเลียและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวออสเตรเลียเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวออสเตรเลียเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตออสเตรเลียไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวออสเตรเลียและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_3

การจดทะเบียนสมรสกับชาวนิวซีแลนด์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวนิวซีแลนด์ หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวนิวซีแลนด์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวนิวซีแลนด์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวนิวซีแลนด์เข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตนิวซีแลนด์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวนิวซีแลนด์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_4

การจดทะเบียนสมรสกับชาวอังกฤษ  (อังกฤษ / สกอตแลนด์ / เวลส์ / ไอร์แลนด์เหนือ)

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวอังกฤษ หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวอังกฤษและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวอังกฤษเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวอังกฤษเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตอังกฤษไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวอังกฤษและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_5

การจดทะเบียนสมรสกับชาวฝรั่งเศส

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวฝรั่งเศส หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากฝรั่งเศส, เอกสารการงาน, เอกสารการเงิน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวฝรั่งเศสและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. นำเอกสารของฝ่ายชาวไทยไปแปลและรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ จากนั้นแปลภาษาฝรั่งเศสที่สมาคมฝรั่งเศส และนำไปรับรองคำแปลที่สถานทูตฝรั่งเศส ก่อนฝ่ายชาวฝรั่งเศสมาไทย
  3. เมื่อฝ่ายชาวฝรั่งเศสเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวฝรั่งเศสและฝ่ายชาวไทยเข้าสถานทูตฝรั่งเศสตามวันนัดหมาย เพื่อยื่นเรื่องขอจดทะเบียนสมรสกัน และสถานทูตจะนำเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย ส่งเรื่องไปที่เขตพื้นที่ที่ฝ่ายชาวฝรั่งเศสอาศัยอยู่ รอ 3-4 สัปดาห์
  4. เมื่อฝ่ายชาวฝรั่งเศสได้รับการอนุมัติแล้ว สถานทูตจะส่งเมลมาแจ้งเพื่อไปรับใบรับรองโสดที่สถานทูต
  5. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตฝรั่งเศส ไปแปลภาษาอังกฤษและเข้าไปรับรองคำแปลที่สถานทูตฝรั่งเศสอีกครั้งในวันเดียวกัน
  6. นำใบรับรองโสดที่รับรองแล้วไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  7. นัดหมายฝ่ายชาวฝรั่งเศสและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  8. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_6

การจดทะเบียนสมรสกับชาวเยอรมัน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวเยอรมัน หนังสือเดินทาง,ใบรับรองสถานภาพโสดจากเยอรมัน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวเยอรมันและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. นำเอกสารฝ่ายชาวไทย รับรองสถานทูตเยอรมันประมาณ 1เดือน และนำไปแปลภาษาเยอรมันที่เกอเธ่ 7 วันทำการ
  3. ส่งเอกสารของฝ่ายชาวไทยไปให้ฝ่ายชาวเยอรมัน เพื่อฝ่ายชาวเยอรมันนำไปขอใบรับรองสถานภาพความโสด หลังจากได้รับแล้ว สแกนส่งมาให้สำนักงาน เพื่อทางเจ้าหน้าที่จะส่ง email เข้าสถานทูต
  4. สถานทูตจะส่งคิวนัดหมายมา พาฝ่ายชาวเยอรมันเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  5. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตเยอรมันไปรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 1 วันทำการ
  6. นัดหมายฝ่ายชาวเยอรมันและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  7. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_7

การจดทะเบียนสมรสกับชาวอิตาลี

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวอิตาลี หนังสือเดินทาง, ใบเกิด, ใบถิ่นที่อยู่, ใบรับรองสถานภาพโสดจากอิตาลี,  ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, สูติบัตร, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวอิตาลีและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวอิตาลีเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวอิตาลีเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตอิตาลีไปรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 1 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวอิตาลีและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_8

การจดทะเบียนสมรสกับชาวสวิสเซอร์แลนด์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์ หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมนำเอกสารของฝ่ายชาวไทยไปแปลตามภาษาราชการของฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์ และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ
  2. เมื่อฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์เข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด 2 เดือน
  3. พาฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์และฝ่ายชาวไทย เข้าไปรับใบรับรองโสดที่สถานทูตพร้อมกัน
  4. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตสวิสเซอร์แลนด์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  5. นัดหมายฝ่ายชาวสวิสเซอร์แลนด์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  6. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_9

การจดทะเบียนสมรสกับชาวนอร์เวย์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวนอร์เวย์ หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากนอร์เวย์, เอกสารการเงิน, เอกสารการงาน,  ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวนอร์เวย์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. เมื่อฝ่ายชาวนอร์เวย์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวนอร์เวย์เข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตนอร์เวย์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวนอร์เวย์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_10

การจดทะเบียนสมรสกับชาวสวีเดน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวสวีเดน หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากสวีเดน, เอกสารการเงิน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวสวีเดนและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. เมื่อฝ่ายชาวสวีเดนเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวสวีเดนเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตสวีเดนไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวสวีเดนและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_11

การจดทะเบียนสมรสกับชาวเนเธอร์แลนด์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวเนเธอร์แลนด์ หนังสือเดินทาง, บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองสัญชาติ, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวสวีเดนและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมนำใบรับรองโสดฝ่ายชาวไทยแปลภาษาอังกฤษ และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  2. กรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสดและขอสำเนาหนังสือเดินทางของฝ่ายชาวเนเธอร์แลนด์ เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต
  3. เมื่อฝ่ายชาวเนเธอร์แลนด์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวเนเธอร์แลนด์เข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  4. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตเนเธอร์แลนด์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  5. นัดหมายฝ่ายชาวเนเธอร์แลนด์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  6. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_12

การจดทะเบียนสมรสกับชาวฟินแลนด์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวฟินแลนด์ หนังสือเดินทาง, ใบขออนุญาตจดทะเบียนสมรส, เอกสารการงาน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวฟินแลนด์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. เมื่อฝ่ายชาวฟินแลนด์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวฟินแลนด์เข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตฟินแลนด์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวฟินแลนด์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_13

การจดทะเบียนสมรสกับชาวเบลเยี่ยม

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวเบลเยี่ยม หนังสือเดินทาง, บัตรประชาชน, ใบเกิด, ใบรับรองสัญชาติ, ใบถิ่นที่อยู่, เอกสารการงาน, ใบรับรองสถานภาพโสดจากสวีเดน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวเบลเยี่ยมและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวเบลเยี่ยมเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวเบลเยี่ยมและฝ่ายชาวไทยเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด สถานทูตจะสัมภาษณ์ 2 ครั้งในวันเดียวกัน สัมภาษณ์คู่และสัมภาษณ์เดี่ยว
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตเบลเยี่ยมไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวเบลเยี่ยมและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_14

การจดทะเบียนสมรสกับชาวสเปน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวสเปน หนังสือเดินทาง, บัตรประชาชน, ใบถิ่นที่อยู่, เอกสารการงาน, เอกสารการเงิน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวสเปนและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. เมื่อฝ่ายชาวสเปนเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวสเปนและฝ่ายชาวไทยเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตสเปนไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวสเปนและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
  6. นำใบทะเบียนสมรส (คร.2) ที่ออกจากสำนักงานเขต ไปแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  7. พาฝ่ายชาวไทยเข้าสถานทูตเพื่อทำ family book
ธง V.1_210211_15

การจดทะเบียนสมรสกับชาวฮังการี

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวฮังการี หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวฮังการีและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวฮังการีเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวฮังการีเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตฮังการีไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวฮังการีและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_16

การจดทะเบียนสมรสกับชาวโปแลนด์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวโปแลนด์ หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากโปแลนด์, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวโปแลนด์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวโปแลนด์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวโปแลนด์เข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตโปแลนด์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวโปแลนด์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_17

การจดทะเบียนสมรสกับชาวลิทัวเนีย

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวลิทัวเนีย หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากลิทัวเนีย, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวลิทัวเนียและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. ฝ่ายชาวลิทัวเนียขอใบรับรองสถานภาพโสดที่อำเภอตามทะเบียนบ้าน ที่ประเทศลิทัวเนีย พร้อมทั้งนำไปแปลภาษาอังกฤษ และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ประเทศลิทัวเนีย
  3. นำใบรับรองสถานภาพโสด ไปรับรองที่กงสุลไทย ประจำประเทศลิทัวเนีย
  4. เมื่อฝ่ายชาวลิทัวเนียเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวลิทัวเนียเข้ากงสุลลิทัวเนีย เพื่อขอใบรับรองโสด
  5. นำใบรับรองโสดที่ออกจากกงสุลลิทัวเนียไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  6. นัดหมายฝ่ายชาวลิทัวเนียและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  7. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_18

การจดทะเบียนสมรสกับชาวมอลต้า

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวมอลต้า หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากมอลต้า, ทะเบียนบ้าน, ใบเกิด, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวมอลต้าและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย
  2. ฝ่ายชาวมอลต้าขอใบรับรองสถานภาพโสดที่อำเภอตามทะเบียนบ้าน ที่ประเทศมอลต้า และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ประเทศมอลต้า
  3. เมื่อฝ่ายชาวมอลต้าเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวมอลต้าเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  4. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตมอลต้าไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  5. นัดหมายฝ่ายชาวมอลต้าและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  6. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_19

การจดทะเบียนสมรสกับชาวเอสโตรเนีย

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวเอสโตรเนีย หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากเอสโตรเนีย, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวเอสโตรเนียและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายกงสุลเอสโตรเนีย และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวเอสโตรเนียเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวเอสโตรเนียเข้ากงสุลเอสโตรเนียตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากกงสุลเอสโตรเนียไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวเอสโตรเนียและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_20

การจดทะเบียนสมรสกับชาวภูฏาน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวภูฏาน หนังสือเดินทาง, ใบรับรองสถานภาพโสดจากภูฏาน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวภูฏานและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. ฝ่ายชาวภูฏานขอใบรับรองสถานภาพโสดที่อำเภอตามคำสั่งศาล ที่ภูฏาน
  3. เมื่อฝ่ายชาวภูฏานเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวภูฏานเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองสัญชาติ และพาฝ่ายชาวภูฏานเข้ากระทรวงต่างประเทศภูฏาน ที่ไทย
  4. นำเอกสารทั้งหมดที่ออกจากสถานทูตและกระทรวงต่างประเทศภูฏานไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  5. นัดหมายฝ่ายชาวภูฏานและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  6. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_21

การจดทะเบียนสมรสกับชาวมาเลเซีย

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวมาเลเซีย หนังสือเดินทาง, บัตรประชาชน, รูปถ่าย 2 นิ้ว, ใบอนุญาตให้สมรส, เอกสารการงาน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวมาเลเซียและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. ฝ่ายชาวมาเลเซียนำใบอนุญาตให้สมรส รับรองกระทรวงต่างประเทศที่มาเลเซีย ก่อนเดินทางมาไทย
  3. เมื่อฝ่ายชาวมาเลเซียเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวมาเลเซียเข้าสถานทูตมาเลเซีย เพื่อขอใบรับรองโสด
  4. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตมาเลเซียไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  5. นัดหมายฝ่ายชาวมาเลเซียและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  6. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_22

การจดทะเบียนสมรสกับชาวสิงคโปร์

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวสิงคโปร์ หนังสือเดินทาง, ใบ ROM, ใบ confirm จากกระทรวงแรงงาน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวสิงคโปร์และฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมขอสำเนาหนังสือเดินทาง เพื่อทำการนัดหมายสถานทูต และกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวสิงคโปร์เดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวสิงคโปร์เข้าสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เพื่อขอใบรับรองความประพฤติ และเข้าสถานทูตตามวันนัดหมาย เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตสิงคโปร์ไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวสิงคโปร์และฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_23

การจดทะเบียนสมรสกับชาวจีน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวจีน หนังสือเดินทาง, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวจีนและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวจีนเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวจีนเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตจีนไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวจีนและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_24

การจดทะเบียนสมรสกับชาวไต้หวัน

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวไต้หวัน หนังสือเดินทาง, ทะเบียนบ้าน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวไต้หวันและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่ายพร้อมกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสด
  2. เมื่อฝ่ายชาวไต้หวันเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวไต้หวันเข้าสำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป เพื่อขอใบรับรองโสด
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ พร้อมนำเอกสารไปเช็คประวัติที่สำนักงานเขต
  4. นัดหมายฝ่ายชาวไต้หวันและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ธง V.1_210211_25

การจดทะเบียนสมรสกับชาวญี่ปุ่น

รายการเอกสาร

  1. ฝ่ายชาวญี่ปุ่น หนังสือเดินทาง, เอกสารการงาน, ใบหย่าตัวจริง (ถ้ามี)
  2. ฝ่ายชาวไทย บัตรประชาชน, ทะเบียนบ้าน, ใบรับรองโสด, ใบหย่า (ถ้ามี)

 

ขั้นตอน

  1. หลังจากชำระค่าบริการทางสำนักงานแล้ว เจ้าหน้าที่จะสัมภาษณ์ข้อมูลฝ่ายชาวญี่ปุ่นและฝ่ายชาวไทย ส่งรายการเอกสารทั้ง 2 ฝ่าย พร้อมกรอกแบบฟอร์มขอรับรองโสดและใบปฏิญาณตน
  2. เมื่อฝ่ายชาวญี่ปุ่นเดินทางมาถึงประเทศไทย พาฝ่ายชาวญี่ปุ่นเข้าสถานทูต เพื่อขอใบรับรองโสดและใบปฏิญาณตน
  3. นำใบรับรองโสดที่ออกจากสถานทูตญี่ปุ่นไปแปลภาษาไทย และรับรองกระทรวงต่างประเทศที่ ศูนย์ราชการ แจ้งวัฒนะ 3 วันทำการ
  4. นัดหมายฝ่ายชาวญี่ปุ่นและฝ่ายชาวไทยไปพบที่สำนักงานเขตเพื่อทำการจดทะเบียนสมรสกับเจ้าหน้าที่ พร้อมนำล่ามและพยานมาในวันจดทะเบียนสมรสด้วย
  5. หลังจดทะเบียนสมรส จะได้รับใบทะเบียนสมรส (คร.2) และใบสำคัญการสมรส (คร.3)
ขอคำปรึกษาฟรี กดเลย!
Call Now
Whatsapp
Line@